งานวิจัยและบทความวิชาการ

1. อังสนา ศิรประชา พัฒนา วันฟั่น พรพิมล สวสัดิพงษ์ หทัยชนก บัวเจริญ. (2542). การศึกษาทักษะการทำคลอดปกติและความคิดเห็นต่อการเรียนของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติจากการสอนทักษะการทำคลอดปกติโดยวิธีการเรียนรู้ร่วมกัน. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
2. หทัยชนก บัวเจริญ. (2542). ทางเลือกสุขภาพ. วารสาร มฉก. 3 (5), 49-52.
3. ขนิษฐา นันทบุตร กล้าเผชิญ โชคบำรุง วรรณภา นิวาสะวัต พีรพงษ์ บุญสวสัดิ์กุลชัย หทัยชนก บัวเจริญ. ( 2542). การค้นหาปัญหาและกลวิธีในการป้องกันและลดการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยทำงาน: กรณีศึกษาชุมชนแออัดเขตเทศบาลนครขอนแก่น. ขอนแก่น : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. หทัยชนก บัวเจริญ. (2544). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กก่อนวัยเรียน (แรกเกิด – 5 ปี) ในชุมชนแออัด.วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ม.ขอนแก่น. 24 (3), 1-15.

5. ขนิษฐา นันทบุตร กล้าเผชิญ โชคบำรุง วรรณภา นิวาสะวัต พีรพงษ์ บุญสวสัดิ์กุลชัย หทัยชนก บัวเจริญ อำพน ศรีรักษา ปราณี ธีรโสภณ บำเพ็ญจิต แสงชาติ จินตนา ลี้ละไกรวรรณ ทิพยกาย เปรุนาวิน เจียมจิต แสงสุวรรณ สุพรรณี สุ่มเล็ก. (2546). การศึกษาและการพัฒนาศักยภาพการดูแล
ผู้ป่วยโรคเบาหวานบนพื้นฐานทางสังคม
วัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสาน. วารสารสมาคมพยาบาลภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. 2 (3), 40 –54. (แหล่งเงินทุนสนับสนุน : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สภาการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์)
6. ขนิษฐา นันทบุตร จินตนา ลี้ละไกรวรรณ หทัยชนก บัวเจริญ. (2546).การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อพัฒนาข้อเสนอการจัดระดับบริการสุขภาพในระบบสุขภาพไทย. ขอนแก่น : คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (แหล่งเงินทุนสนับสนุน : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข)
7. ขนิษฐา นันทบุตร หทัยชนก บัวเจริญ จินตนา ลี้ละไกรวรรณ ปราณี ธีรโสภณ กล้าเผชิญ โชคบำรุง บำเพ็ญจิต แสงชาติ พีรพงษ์ บุญสวสัดิ์กุลชัย วาสินี วิเศษฤทธิ์ วรรณภา นิวาสะวัต ทิพยกาย เปรุนาวิน นิลวรรณ ฉันทะปรีดา ปิยะธิดา นาคะเกษียร. (2547). โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ: กรณีศึกษาในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
8. หทัยชนก บัวเจริญ อังสนา ศิรประชา ฉวีวรรณ ตั้งอมตะกุล. (2549). ดัชนีชี้วัดคุณภาพการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. วารสาร มฉก. วิชาการ. 10 (19), 22-35.

9. หทัยชนก บัวเจริญ. มิติใหม่แห่งการวิพากษ์ ศักยภาพของครอบครัวในชุมชนแออัด กรศีศึกษาศักยภาพของครอบครัวในการป้องกันการใช้สารเสพติดแก่เด็กวัยรุ่น. เผยแพร่ในเอกสารการประชุมวิชาการเฉลิม 72 พรรษา เรื่อง “ครอบครัวผาสุก บทบาททที่ท้าทายของพยาบาลในชุมชน” วันที่ 8 - 9 ก.ค. 2547 โรงแรมเอเซีย กรุงเทพมหานคร. หน้า 39 - 47.
10. หทัยชนก บัวเจริญ ดวงใจ ลิมตโสภณ. (2548). การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : กรณีศึกษาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น. สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
11. หทัยชนก บัวเจริญ ธีระพงษ์ กรฤทธิ์ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2549). การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเอกชน : กรณีศึกษาศูนย์หัวเฉียวพิทักษ์ชีพ-ป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว.วารสารสมาคมพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 24 (1), 29 – 39.
12. หทัยชนก บัวเจริญ. การพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรมในระบบบริการพยาบาลของสังคมไทย. วารสารสมาคมพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 24 (2), 17-23.

13. หทัยชนก บัวเจริญ. การวิเคราะห์อุปสรรคในการพัฒนาสมรรถนะการพยาบาลต่างวัฒนธรรม. วารสารพยาบาลสาธารณสุข. 19 (2), 79-84.
14. หทัยชนก บัวเจริญ. ปรัชญาแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาทฤษฎีการพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
. 29 (2), 48-52.
15. หทัยชนก บัวเจริญ. (2549). ทฤษฎีการดูแลมนุษย์ของจีน วัตสัน: การวิเคราะห์ทฤษฎีการพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น . 29 ( 3), 49-57.
16. วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย หทัยชนก บัวเจริญ จริยาวัตร คมพยัคฆ์. (2550). การพัฒนาเครื่องมือส าหรับประเมินผู้รับบริการที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนภายใต้ทฤษฎีการพยาบาลคิง.วารสารสภาการพยาบาล. 22 (3), 55-66.
17. หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย จริยาวัตร คมพยัคฆ์ ธนวรรณ เมาฬีทอง พรทิพย์ ชูตินันท์ สายัณห์ พึ่งตระกูล พ.ท. (หญิง) รัตนา ลิ้มอารีธรรม อุบลรัตน์ สุขสุนัยและ เพ็ญศรี ธารมัติ, (2550). รูปแบบการจัดการและการสร้างเป้าหมายของการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนโดยทฤษฎีการพยาบาลคิง. สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
18. วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย หทัยชนก บัวเจริญ จริยาวัตร คมพยัคฆ์ ร.ต.(หญิง)โสมนัส ว่องไววุฒิกุลเดช พ.ท.(หญิง) พัชรินทร์ กลิ่นสุคนธ์ นิตยา แย้มมี ณฐมน เภรีพิพัฒน์ สุมานี ศรีก าเนิด ประทีป ปัญญา (2550). กระบวนการพัฒนาสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานเพื่อการควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดบนพื้นฐานทฤษฎีการพยาบาลคิง. วารสารการพยาบาลสาธารณสุข. 22(2), 1-16.
19. หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย (2550). การศึกษาและเปรียบเทียบความรู้เพื่อป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมของนักศึกษาหญิง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
20. หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย จริยาวัตร คมพยัคฆ์ บุษบงษ์ วิเศษผลชัย พัชรี รัศมีแจ่ม ณิชาพร คงบันเทิง ปราชญา ศุภฤกษ์ชัยชีพ พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์ เสาวลักษณ์ ทรัพย์อาภรณ์. (2550). รูปแบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพงมหอยตามทฤษฎีการพยาบาลคิงโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

21. วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย หทัยชนก บัวเจริญ. (2550). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันเอดส์และความตระหนักเรื่องเพศของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
22. ภุชงค์ เสนานุช วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย พวงชมพู โจนส์ วิรัตน์ ทองรอด วรพจน์ กนกกัณฑพงศ์ พรรัชนี วีระพงศ์ หทัยชนก บัวเจริญ. (2550). โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินการเทศบาลส าโรงใต้. สมุทรปราการ : เทศบาลส าโรงใต้และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระกียรติ.
23. 
หทัยชนก บัวเจริญ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2550). การประเมินผลโครงการอบรมหลักสูตรเวชกรฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน (EMT-B110 ชม.) ศูนย์หัวเฉียวพิทักษ์ชีพ – ป่อเต็ก ตึ๊งโรงพยาบาลหัวเฉียว.
สมุทรปราการ : ศูนย์หัวเฉียวพิทักษ์ชีพ-ป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
24. หทัยชนก บัวเจริญ.การสร้างองค์ความรู้ : การสร้างภูมิคุ้มกันโรคหัวใจและหลอดเลือดแบบองค์รวม. เผยแพร่ในเอกสารการประชุมวิชาการเนื่องในโอกาสการจัดการศึกษาวิชาการผดุงครรภ์และการพยาบาลหัวเฉียว 65 ปี เรื่อง “ก้าวทันบทบาทพยาบาลในการดูแลอย่างต่อเนื่องผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด”
วันที่ 1-2 มีนาคม 2550 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์กรุงเทพฯ.
25. ธนิษฐา อังคาระพันธ์ พรศิริ พันธสี หทัยชนก บัวเจริญ. (2550). แนวปฏิบัติการพยาบาลการชะลอความรุนแรงของข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ.วารสารการพยาบาลสาธารณสุข. 22 (2), 74-88.
26. วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย หทัยชนก บัวเจริญ รัชนี นามจันทรา นภาพร แก้วนิมิตชัย ฉวีวรรณ ตั้งอมตะกุล ภัทรา เล็กวิจิตรธาดา กนกพร นทีธนสมบัติ วิชุดา กิจธรธรรมและ ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร. (2550) การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะ
พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช 2547. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
27. ภุชงค์ เสนานุช หทัยชนก บัวเจริญ กรรณิกา ขวัญอารีย์ จริยาวัฒน์ โลหะพูนตระกูล วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย . (2551). โครงการติดตามผลการถ่ายโอนภารกิจด้านสวัสดิการสังคม (สถานสงเคราะห์คนชรา) แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการประเมินความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ
การถ่ายโอนสถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง/คนพิการ. ได้รับทุนสนับสนุนจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
28. หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และจริยาวัตร คมพยัคฆ์. (2551). การศึกษาปัญหาและความต้องการการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอาชีพงมหอยแครงวิเคราะห์ตามทฤษฎีการพยาบาลของคิง โดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม. หน้า 40-51.
29. หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย จริยาวัตร คมพยัคฆ์ บุษกร มงคลนิมิต จุฑารัตน์ ภาตะนันท์, วันทนา แก้ววงษ์ จุฑารัตน์ อินทะโชติ กัลยา มัดเลาะห์ และพัชรินทร์ ฟากวิลัย. (2551). การส่งเสริมแกนน าสุขภาพครอบครัวเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
โดยทฤษฎีการพยาบาลของคิง, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 31, ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม. หน้า 17-25.
30. วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย หทัยชนก บัวเจริญ จริยาวัตร คมพยัคฆ์ วิจิตร วรรธนะวุฒิ จิราพร เดชมา จริยา ทรัพย์เรือง นภาพร ลิมตโสภณ ถนอมวรรณ์ ดำแก้ว. (2551). การประยุกต์ทฤษฎีการพยาบาล
ของคิงในกระบวนการพัมนานวัตกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้ผู้เป็นเบาหวานในชุมชน, วารสารคณะ
พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 31, ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม. หน้า 26-37.
31. ภุชงค์ เสนานุช วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย พรรัชนี วีระพงศ์ วรพจน์ กนกกันฑพงษ์ วิรัตน์ ทองรอด พวงชมภู โจนส์ ทวีศักดิ์ กสิผล และ หทัยชนก บัวเจริญ. (2552). รายงานการประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลสามปี (พ.ศ.2550-2552) เทศบาลตำบลสำโรงใต้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (1 ตุลาคม
2551-30 กันยายน 2552). มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. ได้รับทุนสนับสนุนจากเทศบาลสำโรงใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ.
32. อ้อมใจ แก้วประหลาด หทัยชนก บัวเจริญ รัชนี นามจันทรา. (2552). การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก. วารสาร มฉก.วิชาการ. ปีที่ 13 ฉบับที่ 25. หน้า 41-58.
33. พิจิตรา ชุณหฐิติธรรม หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย ดวงใจ ลิมตโสภณ. (2553). การศึกษากระบวนการพัมนากาสร้างเสริมสุขาภพเด็กวัยก่อนเรียน กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยหัว
เฉียวเฉลิมพระเกียรติ .
34. หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาและคณะพยาบาลศาสตร์ในรายวิชาการพยาบาลในระบบสุขภาพ. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย
หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
35. กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม หทัยชนก บัวเจริญ จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล ปิยะธิดา นาคะเกษียร พัทรีญา แก้วแพง วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย อาภาพร เผ่าวัฒนา. (2553). การศึกษาระบบสุขภาพชุมชนกรณีศึกษา ต าบลปริก อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา. ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะ
ในพื้นที่และชุมชน ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
36. หทัยชนก บัวเจริญ ปิยะธิดา นาคะเกษียร กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล พัทรีญา แก้วแพง. (2553). การศึกษาระบบสุขภาพชุมชนกรณีศึกษา ต าบลขุนทะเล อ าเภอลานสะกาจังหวัดนครศรีธรรมราช. ได้รับทุนสนับสนุนจากส านักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน
ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
37. หทัยชนก บัวเจริญ กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2553). การศึกษาระบบสุขภาพชุมชนกรณีศึกษา ตำบลศิลาลอย อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. ได้รับทุนสนับสนุน จากสำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

38. หทัยชนก บัวเจริญ กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล ปิ่นเนรศ กาศอุดม ปิยะธิดา นาคะเกษียร พัทรีญา แก้วแพง. (2553). “การให้นิยามความหมายต าบลสุขภาวะที่สะท้อนมุมมองของผู้ปฏิบัติการจริงในบริบทสังคมวัฒนธรรมของชุมชนในประเทศไทย” ได้รับทุนสนับสนุนจากส านัก
สนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
39. หทัยชนก บัวเจริญ กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล ปิ่นเนรศ กาศอุดม ปิยะธิดา นาคะเกษียร พัทรีญา แก้วแพง. (2553). การประเมินความพึงพอใจและผลการดำเนินงานของโครงการภายใต้การสนับสนุนจากส านักสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน (สน.3) สสส.
ปีงบประมาณ 2552. ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
40. ปิยะธิดา นาคะเกษียร หทัยชนก บัวเจริญ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย . (2553). โครงการการจัดการความรู้และการสร้างองค์ความรู้สุขภาวะชุมชนพื้นที่ภาคกลาง. ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
41. กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม หทัยชนก บัวเจริญ ปิ่นเนรศ กาศอุดม จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2553).กระบวนการจัดการสุขภาวะชุมชน โดยชุมชน เพื่อพัฒนาสู่ตำบลสุขภาวะโครงการภายใต้การสนับสนุนจากส านักสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน (สน.3) สสส. ปีงบประมาณ 2552.
ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
42. หทัยชนก บัวเจริญ. (2553). การจัดการความรู้ทางการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนการสังเคราะห์งานวิจัยและการศึกษาด้วยตนเอง. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
43. หทัยชนก บัวเจริญ. (2554). บทบาทพยาบาลในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการภาวะ Metabolic syndrome แบบองค์รวม. เอกสารประกอบการประชุมเรื่องการจัดการภาวะ Metabolic syndrome แบบองค์รวม. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
44. หทัยชนก บัวเจริญ. (2554). การใช้ทุนทางสังคม ทุนเพื่อการขับเคลื่อนพัฒนาระบบสุขภาพ ชุมชนเพื่องานพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
45. ปิ่นเนรศ กาศอุดม หทัยชนก บัวเจริญ กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล . (2554). การประเมินความพึงพอใจและผลการด าเนินงานของโครงการภายใต้การสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน (สน.3) สสส. ปีงบประมาณ 2553. ได้รับทุนสนับสนุน
จากสำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.