มคอ. 3

รายละเอียดของรายวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
 

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

  1. รหัสและชื่อรายวิชา

4061101        วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

                      Environmental Science

2. จำนวนหน่วยกิต 
3 (2-2-5)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา   

 

              เปิดสอนให้กับหลักสูตร  ครุศาสตรบัณฑิต     สาขาวิชา   วิทยาศาสตร์

              เปิดสอนให้กับหลายหลักสูตร (กรณีที่เป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป วิชาเลือกเสรี)

 

     ประเภทของรายวิชา

              หมวดวิชาศึกษาทั่วไป          

                       £ บังคับ                              £ เลือก

                       

              กลุ่มวิชา     

                       £ ภาษาและการสื่อสาร              £ มนุษยศาสตร์

                       £ สังคมศาสตร์                        £ วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์

              หมวดวิชาเฉพาะ      

    กลุ่มวิชา                          

            £ แกน                                 £ บังคับ             £ เลือก
    £ เฉพาะด้าน                          £ บังคับ             £ เลือก

    £ พื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ         £ บังคับ           £ เลือก

              £ เอก                              £ บังคับ               £ เลือก

    £ โท                        £ บังคับ               £ เลือก

              £ อื่นๆ  (ระบุ)  …………………..………………

              หมวดวิชาเลือกเสรี

 

 

4. ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

         อาจารย์ผู้สอน                         ผศ.ดร. สุรัตนา  เศรษฐชาญวิทย์
 

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน

         ภาคเรียนที่ 1  ชั้นปีที่  4

 

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี )

£  ไม่มี

         £  มี     รายวิชา …………………………………..

 

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน  (Co-requisites( (ถ้ามี)

         £   ไม่มี

         £   มี    รายวิชา……………………………………

 

8. สถานที่เรียน 

         £   ห้องบรรยาย

         £   ห้องปฏิบัติ                 

                  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

 

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

         £  วันที่จัดทำรายวิชา    วันที่  ........... เดือน .......................................   พ...............  .

         £  วันที่ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด  วันที่ 16 เดือน  กรกฎาคม  พ.ศ. 2558

 

 

 

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
 

  1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา (ครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา)

 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ทฤษฎีและหลักปฏิบัติต่าง ๆ ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้แก่ความรู้ และหลักการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสิ่งแวดล้อม หลักการทางนิเวศวิทยาและสมดุลธรรมชาติโลกทั้งระบบ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มลพิษทางสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่เหมาะสม ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น เกิดแนวคิดและการมีส่วนร่วมในการใช้และการร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา (กรณีเปิดสอนเป็นครั้งที่ 2 เป็นต้นไปควรนำข้อมูล
จากมคอ
. 5 หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุงมาระบุไว้ในข้อนี้)

เปลี่ยนแปลงเนื้อหาให้ทันสมัยสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาและสอดคล้องกับนโยบาย
ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปรับวิธีการสอน ให้นักศึกษาได้ศึกษา และทำบทปฏิบัติการนอกสถานที่เพิ่มขึ้น 

 

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

  1. คำอธิบายรายวิชา

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม  ความรู้ทางนิเวศวิทยาที่ใช้กับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม  สถานภาพของทรัพยากร การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน สภาพมลพิษ ผลกระทบที่เกิดขึ้น การป้องกันและการบำบัดสภาพมลพิษ การจัดการสิ่งแวดล้อม สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก
 

Students are able to get the knowledge of basic Environmental Science and ecological concepts related to Environmental Science. They are able to understand the status of resources, pollution and their effects and how to conserve and sustainably manage on both resources and  environmental pollution control and management. In addition, they are able to get and be aware of the environmental situation of the World.

 

  1. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

ภาคทฤษฎี

ภาคปฏิบัติ

ศึกษาด้วยตนเอง

กิจกรรมเพิ่มเติม

30 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

30 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

75  ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

15 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

         

  1. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (โดยกำหนดไว้ในประมวลผลการสอน   และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน(

หมวดที่  4   การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

ผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวังจะพัฒนานักศึกษา

1.  คุณธรรม จริยธรรม

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอน

กลยุทธ์การประเมินผล

1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต
1.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น
ของผู้อื่น
1.3 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น

- กําหนดข้อตกลงร่วมระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ด้านความมีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต ความซื่อตรงต่อการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ
- มอบหมายการทำงานรายบุคคล/กลุ่ม

- พฤติกรรมการเข้าเรียนและขณะเรียน ความตรงต่อเวลาในการการส่งงาน/แบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย
- สังเกตจากการทำงานรายบุคคล/กลุ่ม

 

2.  ความรู้

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอน

กลยุทธ์การประเมินผล

2.1
2.2
2.3 ทรัพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน
2.4 มลพิษในสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ การป้องกัน
และการบำบัดสภาพมลพิษ
และการจัดการสิ่งแวดล้อม
2.5 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก

 

- บรรยาย
- อภิปรายกลุ่ม
- การมอบหมายงาน และการนำเสนองาน
-ศึกษาค้นคว้ารายบุคคล / กลุ่ม

- สอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ตรวจผลงานรายบุคคล/ กลุ่ม
- ประเมินการนำเสนอรายงานงานบุคคล/กลุ่ม

 3.  ทักษะทางปัญญา

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอน

กลยุทธ์การประเมินผล

3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ

3.2 ตระหนักรู้ศักยภาพของตนเพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถเพิ่มมากขึ้น

3.3 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ประมวลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้

บรรลุเป้าหมายที่กำหนด

3.4 กำหนดกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาพอนาคตและแนวทางความเป็นไปได้ที่จะแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

3.5 สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา

- อธิบาย
- วิเคราะห์กรณีศึกษา
- อภิปรายกลุ่ม
- ศึกษาค้นคว้ารายบุคคล/ กลุ่ม
- สอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาคเน้นข้อสอบ
วิเคราะห์
- ตรวจผลงานรายบุคคล/ กลุ่ม

- สอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ตรวจผลงานรายบุคคล/ กลุ่ม
- ประเมินการนำเสนอรายงานงานบุคคล/กลุ่ม

 

4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอน

กลยุทธ์การประเมินผล

4.1เข้าใจความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือ
และอำนวยความสะดวกแก่
การแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำหรือ
ผู้ร่วมทีมงาน
4.3 มีทักษะกระบวนการกลุ่มใน
การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ สามารถวางตัวและแสดง
ความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนา
ตนเอง วิชาชีพ องค์กร
และสังคมอย่างต่อเนื่อง

- จัดกิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม
- อภิปรายกลุ่ม
- วิเคราะห์กรณีศึกษารายงานบุคคล/กลุ่ม

- ประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน
- ประเมินการนำเสนอ
รายงานบุคคล/กลุ่ม

 

5.  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอน

กลยุทธ์การประเมินผล

5.1สามารถใช้ภาษาไทยและภาษา
ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาส และวาระ
5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
และนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถติดตามความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลกปัจจุบัน

-มอบหมายงานรายบุคคล/กลุ่ม        - รายงานกลุ่ม
- อภิปรายกลุ่ม
- ศึกษาค้นคว้ารายงานบุคคล/กลุ่ม

- ประเมินจากงานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
- ประเมินจากรายงานกลุ่ม
- ประเมินการนำเสนอรายงาน
บุคคล/กลุ่ม

 

ค่านิยม 12 ประการ

1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน 

3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 

4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 

5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย 

6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ 

7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย

8. มีระเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่

9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ 

10. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ 

12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

 

หมวดที่  5  แผนการสอนและการประเมินผล

  1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละอียด

จำนวน

ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน

ความสอดคล้อง

มาตรฐานผลการเรียนรู้(TQF)

ค่านิยม  12ประการ (ระบุข้อที่สอดคล้อง)

1

แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

-นิยาม ความหมาย และประเภทของสิ่งแวดล้อม

-มิติทางสิ่งแวดล้อม

4

- แจกแนวการจัดการเรียนรู้

-แบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน

 กิจกรรม 1  การสร้าง

 ความตระหนักและจิตสำนึกในการ รักษาสภาพแวดล้อมใน มหาวิทยาลัยและที่พักอาศัย

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ
- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

1-5

1-12

2

 

 

 

 

 

แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (ต่อ)

-คุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งแวดล้อม

-การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

-ขอบเขตการศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

4

 

 

 

 

 

กิจกรรม 1 (ต่อ) การสร้าง

 ความตระหนักและจิตสำนึกในการ รักษาสภาพแวดล้อมใน มหาวิทยาลัยและที่พักอาศัย

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

1-5

1-12

3

ระบบนิเวศ

-นิยาม ความหมาย และขอบเขตการศึกษาระบบนิเวศ

-ระบบนิเวศ โครงสร้าง และหน้าที่การทำงาน

-การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

 

4

กิจกรรม 1 (ต่อ) การสร้าง

 ความตระหนักและจิตสำนึกในการ รักษาสภาพแวดล้อมใน มหาวิทยาลัยและที่พักอาศัย

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

 

1-5

1-12

4

ระบบนิเวศ (ต่อ)

 

4

กิจกรรม 1 (ต่อ) การสร้าง

 ความตระหนักและจิตสำนึกในการ รักษาสภาพแวดล้อมใน มหาวิทยาลัยและที่พักอาศัย

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์   - power point

 

 

5

มลพิษสิ่งแวดล้อม

-นิยาม ความหมาย และขอบเขตการศึกษามลพิษสิ่งแวดล้อม

-การป้องกันแก้ไขและการควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อม

4

กิจกรรม2  มลพิษสิ่งแวดล้อมในชุมชนแหล่งที่อยู่ของนักศึกษา

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

-ศึกษานอกสถานที่

1-5

1-12

6

มลพิษสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

-ประเภทของมลพิษ

          - มลพิษทางดิน

4

กิจกรรม3 การลดการปนเปื้อนของมลพิษด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

-ศึกษานอกสถานที่

1-5

1-12

7

มลพิษสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

-ประเภทของมลพิษ

          - มลพิษทางน้ำ

          - มลพิษทางอากาศ

 

4

กิจกรรม3 (ต่อ) การลดการปนเปื้อนของมลพิษด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์ - power point

1-5

1-12

8

สอบกลางภาค

4

แบบทดสอบ

 

 

9

มลพิษสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

-ประเภทของมลพิษ

        -มลพิษอื่นๆ

             

4

กิจกรรม3 (ต่อ) การลดการปนเปื้อนของมลพิษด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

1-5

1-12

 

 

10

ทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรักษ์จัดการ

-นิยาม ความหมาย และขอบเขต
-การศึกษาทรัพยากรธรรมชาติ

-ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
 

4

กิจกรรม4 ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย

-ตำรา
- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

1-5

1-12

11

ทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรักษ์จัดการ(ต่อ)

-สถานการณ์คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

4

กิจกรรม4 (ต่อ) ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

1-5

1-12

12

ทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรักษ์จัดการ(ต่อ)

- หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

4

กิจกรรม4 (ต่อ) ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย

- ตำรา - แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

1-5

1-12

13-14

 

 

 

สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก ผลกระทบ และแนวทางลดผลกระทบ  -โลกร้อน

-แอลนิโน, ลานินา
-การลดลงของชั้นโอโซน

-ปัญหาความหลากหลายทางชีวภาพ

8

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก
- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

-ศึกษานอกสถานที่

1-5

1-12

15

สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลกที่เกิดผลกระทบกับประเทศไทย และแนวทางลดผลกระทบ 

4

-ตำรา

- แผนภูมิ

- แผ่นภาพ

- เอกสารแจก

- ใบกิจกรรม

- วีดิทัศน์

- power point

-ศึกษานอกสถานที่

1-5

1-12

16

ทบทวน/ซักถามเพิ่มเติม

4

 

 

 

17

สอบปลายภาค

4

 

 

 

 

  1. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (สอดคล้องกับ Curriculum Mapping ของมคอ.2)

ผลการเรียนรู้

วิธีการประเมิน

สัปดาห์ที่กำหนด

สัดส่วนของการประเมิน

 


1.
2.
3. ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน
4. มลพิษในสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ การป้องกันและการบำบัดสภาพมลพิษ และการจัดการสิ่งแวดล้อม
5. สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก

สอบ
- ระหว่างเรียน

- กลางภาค

- ปลายภาค


2, 4, 10, 13 และ15

               8

               17

  70 %
20

              20

              30

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์และ

การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

 การสังเกต

- พฤติกรรม รายบุคคล/กลุ่มในระหว่างเรียน
- งานมอบหมายรายบุคคล/ กลุ่ม
- รายงานบุคคล/กลุ่ม

         ตลอดเทอม

              5%

7. บทปฏิบัติการ

 

การสังเกต

- การทำงานกลุ่ม
- รายงาน
- การนำเสนองาน

3, 7, 16

              15%

 8. งานที่ศึกษาเดี่ยว

 

การสังเกต

- รายงาน

- การนำเสนองาน
 

7, 16

10%

 

 

 

หมวด 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

  1. เอกสารและตำราหลัก

สุรัตนา  เศรษฐชาญวิทย์. (2552) การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของสิ่งมีชีวิตละสิ่งแวดล้อม ใน       วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สุรัตนา  เศรษฐชาญวิทย์. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. (โรเนียว)

  1. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

กรมควบคุมมลพิษ. (2551). สรุปสถานการณ์มลพิษประเทศไทยปี 2550. กรุงเทพฯ: กชกร

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2545). ตำราบำบัดมลพิษน้ำ. กรุงเทพฯ: สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม           แห่งประเทศไทย

เกษม  จันทร์แก้ว. (2544). วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นิวัติ  เรืองพานิช. (2542). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุกาญจน์  รัตนเลิศนุสรณ์. หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ส.ส.ท.

สุธีลา  ตุลยะเสถึยร, โกศล  วงศ์สวรรค์, และสถิต  วงศ์สวรรค์. มลพิษสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์

Atwater, M., Baptiste, P., Daniel, L., Hackett, J., Moyer, R., Takemoto, C, & Wilson, N. (1995).  Changes in Ecosystems. NY: Macmillan/McGraw-Hill School.

Miller, G.T. (2006). Environmental Science. CA: Brooks/Cole.

Smith, R.L., & Smith, T.M. (1998). Elements of Ecology. CA:Benjamin/Cummings Science.

Starr, C., & Taggart, R. (2001). Ecology and Behavior. CA:Brooks/Cole.

  1. เอกสารและข้อมูลแนะนำ

กอ, อัล. (2550). An Inconvenient Truth: โลกร้อนความจริงที่ไม่มีโครอยากฟัง. คุณากร  วาณิชย์วิรุฬห์ (แปล). กรุงเทพฯ: มติชน

ราตรี  ภารา. (2543). ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์

วรนุช  อุษณกร. (2548). รอบรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์

วศิน  อิงคพัฒนากุล. นิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุธีลา  ตุลยะเสถึยร, โกศล  วงศ์สวรรค์, และสถิต  วงศ์สวรรค์. มลพิษสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์

Atwater, M., Baptiste, P., Daniel, L., Hackett, J., Moyer, R., Takemoto, C, & Wilson, N. (1995). Changes in Ecosystems. NY: Macmillan/McGraw-Hill School

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

  1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้

- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน

- แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา

  1. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

- การสังเกตการสอน

- ผลการสอบ

- การทวนสอบประเมินผลการเรียนรู้

  1. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

- วิจัยในชั้นเรียน

- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

  1. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงาน ของนักศึกษา และหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

- การทวนสอบการให้คะแนนจากอาจารย์ท่านอื่นที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

- มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน

  1. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามข้อเสนอแนะการทวนสอบตามข้อ 4

- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองใหม่ๆ