Statistics Statistics
14961
Online User Online1
Today Today1
Yesterday Yesterday8
ThisMonth This Month60
LastMonth Last Month392
ThisYear This Year1,942
LastYear Last Year2,718

 

 

ผลงานวิจัย

  1. พรพิมล จันทนะโสตถิ์. (2535) เปรียบเทียบพัฒนาการทารกแรกเกิดถึง 6 เดือน ระหว่างกลุ่มที่มารดาได้รับคำแนะนำการส่งเสริมพัฒนาการกับกลุ่มที่ไม่ได้รับคำแนะนำ โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 4 ราชบุรี
  2. สุจินดา สุโกมล, พรพิมล  จันทนะโสตถิ์, และ อรินดา สุขพร้อม. (2536) เปรียบเทียบพัฒนาการเด็กอายุ 24 เดือน ระหว่างกลุ่มที่มารดาได้รับคำแนะนำการส่งเสริมพัฒนาการกับกลุ่มที่ไม่ได้รับคำแนะนำ โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 4 ราชบุรี
  3. จินดา สุโกมล, พรพิมล จันทนะโสตถิ์, และ อรินดา สุขพร้อม. (2537) เปรียบเทียบพัฒนาการเด็กอายุ 36 เดือน ระหว่างกลุ่มที่มารดาได้รับคำแนะนำการส่งเสริมพัฒนาการกับกลุ่มที่ไม่ได้รับคำแนะนำ โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 4 ราชบุรี
  4. จินดา สุโกมล, พรพิมล จันทนะโสตถิ์ และ อรินดา สุขพร้อม. (2538) เปรียบเทียบพัฒนาการเด็กอายุ 48 เดือน ระหว่างกลุ่มที่มารดาได้รับคำแนะนำการส่งเสริมพัฒนาการรูปแบบใหม่กับรูปแบบเดิม โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 4 ราชบุรี. (ได้รับทุนสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก (WHO) )
  5. จินดา สุโกมล, พรพิมล จันทนะโสตถิ์ และ อรินดา สุขพร้อม. (2539) เปรียบเทียบพัฒนาการเด็กอายุ 60 เดือน ระหว่างกลุ่มที่มารดาได้รับคำแนะนำการส่งเสริมพัฒนาการรูปแบบใหม่กับรูปแบบเดิม โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 4 ราชบุรี
  6. Chandanasotthi. P. (2003) The Relationship of Stress, Self-esteem, and Coping Styles to Health Promoting Behaviors of Adolescents in Thailand.
  7. อาภาพร เผ่าวัฒนา พรพิมล จันทนะโสตถิ์ และวีณา เที่ยงธรรม. (2548). ความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับโรคเอดส์และอนามัยเจริญพันธ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 19(2), พฤษภาคม-สิงหาคม, 36-49.
  8. วีณา เที่ยงธรรม อาภาพร เผ่าวัฒนา และพรพิมล จันทนะโสตถิ์ (2548). กรณีศึกษาการรับรู้เรื่องเพศศึกษาของนักเรียนชายชั้นประถมปีที่ 6 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุขภาพประชาชนภาคกลาง. 20(6), กันยายน, 39-46.
  9. พิมสุภาว์   จันทนะโสตถิ์  ทัศนีย์  รวิวรกุล สุพร อภินันทเวช และ คณะ (2551). การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก  จังหวัดอ่างทอง.
    วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ 60 ปี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 36-48.
  10. Praditsathaporn C., Chandanasotthi  P., Amnatsatsuee K., Nityasudd D., Sunsern R.(2011) Mental Health Assessment  Tool for Older Thai Adults: Development and Psychometric Testing. Southeast Asian J Trop Med Public Health, 42(3), 744-753.
  11. ฐิติพร ถนอมบุญ  พิมสุภาว์ จันทนะโสตถิ์ ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ พัชราพร เกิดมงคล (2555). การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรมร่วมกับการจัดการรายกรณี ในการป้องกันการเกิดซ้ำของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในผู้สูงอายุโรคเบาหวาน.  วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 26(3), กันยายน-ธันวาคม, 94-105.
  12. อารยา เชียงของ  นฤมล เอื้อมณีกูล  พิมสุภาว์  จันทนะโสตถิ์ อรวรรณ แก้วบุญชู ณัฐกมล ชาญสาธิตพร (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการถูกกระทำรุนแรงของพยาบาลในสถานประกอบการ. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 26(3), กันยายน-ธันวาคม,     45-62.
  13. Auemaneekul N., Chiangkhong A., Chandanasotthi P., Kaewboonchoo O., Chansatitporn N. (2013).  Factors Related to Workplace Violence Against Occupational Health Nurses in the Manufacturing Industry.  Asia Journal of Public Health, 3(1), 1-7.​​

    บทความวิชาการ

          -  พรพิมล จันทนะโสตถิ์. (2548). ความเครียดจากการประกอบอาชีพ: การบริหารจัดการและการเฝ้าระวัง. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 19(2), พฤษภาคม-สิงหาคม, 66-78.

          - พรพิมล จันทนะโสตถิ์. (2548). ภัยพิบัติกับสุขภาพจิต: แนวทางการช่วยเหลือ บุคคล ครอบครัว ชุมชน. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 19(1), มกราคม-เมษายน, 80-92.