มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คณะ/สาขาวิชา

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
นิติศาสตร์

 

 

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป

 

1.

รหัสและชื่อรายวิชา

2562504

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

Constitutional Law

2.

จำนวนหน่วยกิต

3(3-0-6) จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฎิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

 

3.

หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา

4.

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

 

อาจารย์ผู้สอน

กลุ่ม 57/6 อาจารย์ ฉลองบรูณ์ เพ็งลำ

กลุ่ม 57/7 อาจารย์ ฉลองบรูณ์ เพ็งลำ

กลุ่ม 58/4 อาจารย์ ชาคริต กู้มานะชัย

กลุ่ม 59/13 อาจารย์ ชาคริต กู้มานะชัย

 

5.

ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน

ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2559/ชั้นปีที่ 1, 2 และ 3

6.

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)

ไม่มี

 

7.

รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้ามี)

ไม่มี

8.

สถานที่เรียน

ห้อง 755 อาคารเอ 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

 

9.

วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

 

หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1.

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและทำความเข้าใจบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายมหาชน

2.เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ความเข้าใจไปใช้วิเคราะห์ปัญหาข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นอันเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญที่อาจเกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน

2.

วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

 

หมวดที่ 3. ลักษณะและการดำเนินการ

 

1.

คำอธิบายรายวิชา

          ความหมาย ประวัติ และวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ ประเภทของรัฐธรรมนูญ การแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย และความเกี่ยวพันระหว่างอำนาจนั้น ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญของไทย กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ องค์กรต่าง ๆ ที่รัฐธรรมนูญกำหนด โดยการวิเคราะห์ตามหลักกฎหมาย ทฤษฎีและคำพิพากษาศาลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแนวคิดของกฎหมายรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ

          

2.

จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการเรียน

-

บรรยาย

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

สอนเสริม

45 ชั่วโมง 

ไม่มี 

90 ชั่วโมง 

ตามความต้องการของนักศึกษา 

 

3.

จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 

 

หมวดที่ 4. การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

1.

คุณธรรม จริยธรรม

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

1.ตะหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

2.มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื้อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

4.ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ 

2.

ความรู้

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิตในเนื้อหาวิชาในหมวดวิชาเฉพาะด้าน 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

2.มีความรอบรู้ กว้างไกลและติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาที่ศึกษารวมทั้งเข้าใจหลักการและประยุกย์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

3.สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

4.รู้เท่าทันสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ 

3.

ทักษะทางปัญญา

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

2.ตระหนักรู้ศักยภาพของตนเองเพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถเพิ่มมากขึ้น 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.สามารถสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

4.กำหนดกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาพอนาคตและแนวทางความเป็นไปได้ที่จะบรรลุเป้าหมายที่กำหนด 

4.

ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

1.เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

2.สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำหรือผู้ร่วมทีมงาน 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.มีทักษะกระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

4.วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบ 

5.

ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.สามารถประยุกต์ใช้วิธีทางคณิตศาสตร์และสถิติในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

2.สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับโอกาส และวาระ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

3.สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

6.

ทักษะพิสัย

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.มีบุคลิกภาพที่ดี สุขภาพแข็งแรง 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

2.มีความรู้ความเข้าใจสาระสำคัญของการมีสุขภาพพลานมัยที่แข็งแรงและสมบูรณ์ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.สามารถฝึกฝนร่างกายเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพกายที่เพิ่มความแข็งแรงได้ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

4.สามารถฝึกฝนร่างกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพใจที่สมบูรณ์ได้ 

 

 

 

หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล

 

1.

แผนการสอน

 

สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน
การสอน

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

ชิ้นงาน/ภาระงาน

การประเมินการเรียนรู้

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

1.แนะนำรายวิชา
2.ข้อตกลงการเข้าชั้นเรียน
3.อธิบายแนวคิดกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
 

 

 

ความเป็นมาของกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ 

 

 

ทฤษฎีการเกิดรัฐ
องค์ประกอบความเป็นรัฐ
รัฐเดี่ยว
รัฐรวม
 

 

 

ทฤษฎีการเกิดรัฐ
องค์ประกอบความเป็นรัฐ
รัฐเดี่ยว
รัฐรวม
 

 

 

ความหมายกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ความหมายรัฐธรรมนูญ
 

 

 

หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ 

 

 

หลักประชาธิปไตยแบบเสรี 

 

 

สอบกลางภาค 

 

 

 

หลักนิติรัฐ
หลักนิติธรรม
 

 

 

10 

สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค 

 

 

11 

สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค (ต่อ) 

 

 

12 

ระบบการเมืองของสหราชอาณาจักร 

 

 

13 

ระบบการเมืองสหรัฐอเมริกา 

 

 

14 

รัฐธรรมนูญไทย  

 

 

15 

รัฐธรรมนูญไทย (ต่อ) 

 

 

16 

รัฐธรรมนูญไทย (ต่อ)
สรุป ทบทวนบทเรียน
นำเสนอรายงาน



 

 

17 

สอบปลายภาค 

 

 

 

รวม

45.00

2.

แผนการประเมินผลการเรียนรู้

 

กิจกรรมที่

งานที่ใช้ประเมินผลผู้เรียน

สัปดาห์ที่ประเมิน

คะแนน

สัดส่วนการประเมิน

การประเมินรายงาน/โครงงาน 

16 

20.00 

20.00 

การเข้าชั้นเรียน/การเข้าร่วมกิจกรรม 

1-7, 9-16 

10.00 

10.00 

การสอบกลางภาค 

30.00 

30.00 

การสอบปลายภาค 

17 

40.00 

40.00 

รวม

100.00

100.00

 

หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

 

1.

เอกสารและตำราหลัก

ชาญชัย แสวงศักดิ์(2559). กฎหมายรัฐธรรมนูญ :แนวคิดและประสบการณ์ของต่างประเทศ

2.

เอกสารและข้อมูลสำคัญ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557

 

3.

เอกสารและข้อมูลแนะนำ

เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ (2559). หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนว่าด้วยรัฐ รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย

บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ (2559). กฎหมายรัฐธรรมนูญ

 

หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

 

1.

กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน

การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2.

กลยุทธ์การประเมินการสอน

วิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอนจากผู้สังเกตการณ์และผลการเรียนของนักศึกษา

 

3.

การปรับปรุงการสอน

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในสาขาวิชา

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

 

4.1

การทวนผลสัมฤทธิ์โดยนักศึกษา

ด้านที่ 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม สัมภาษณ์นักศึกษาภายหลังจบภาคการศึกษาว่า หลักจากที่ได้ศึกษาในรายวิชานี้แล้วนักศึกษามีผลการเรียนรู้ในด้านคุณธรรมจริยธรรมหรือไม่

ด้านที่ 2 ด้านความรู้และด้านที่ 3 ด้านทักษะทางปัญญา สุ่มถามคำถามนักศึกษาที่ได้ผลการเรียนดี ปานกลาง และต่ำ ว่านักศึกษาที่ได้คะแนนแต่ละระดับสามารถตอบคำถามได้เหมือนหรือต่างกันหรือไม่

ด้านที่ 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม

ด้านที่ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สังเกตจากการที่นักศึกษานำเสนอรายงานว่ามีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือไม่

4.2

การทวนผลสัมฤทธิ์โดยอาจารย์ผู้สอน

 

 

5.

การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

นำผลประเมินจากนักศึกษาและข้อมูลที่ได้จากการสังเกตในห้องเรียน จากผู้สังเกตการณ์และผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงการสอนในภาคการศึกษาต่อไป

/

TQF
4186 03 31006800
พิมพ์