มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คณะ/สาขาวิชา

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
นิติศาสตร์

 

 

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป

 

1.

รหัสและชื่อรายวิชา

2563405

พระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบตุลาการ

Constitutional Court of Justice and Judicial System

2.

จำนวนหน่วยกิต

3(3-0-6) จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฎิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

 

3.

หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

นิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์

4.

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

 

อาจารย์ผู้สอน

กลุ่ม 57/59 อาจารย์ ฉลองบรูณ์ เพ็งลำ

กลุ่ม 57/60 อาจารย์ ฉลองบรูณ์ เพ็งลำ

 

5.

ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน

ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2559/ชั้นปีที่ 3

6.

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)

ไม่มี

 

7.

รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้ามี)

ไม่มี

8.

สถานที่เรียน

ห้องนิติ 3 อาคารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

 

9.

วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

7 มิถุนายน 2555

 

หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

 

1.

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

  หลังจากที่เรียนรายวิชาพระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบตุลาการแล้ว นักศึกษามีความสามารถในการกระทำสิ่งต่อไปนี้ได้ 

1.  มีความรู้ ความเข้าใจในหลักกฎหมายของวิชาพระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบตุลาการ

2.  ได้นำความรู้ความเข้าใจไปปรับใช้ในทางปฏิบัติได้

3.  ได้ทราบถึงข้อเท็จจริงในสังคมผ่านคำพิพากษาศาลฎีกา

4.  มีเจตคติที่ดีต่อการบังคับใช้กฎหมาย

5.  สามารถนำความรู้ที่ศึกษาไปถ่ายทอดให้แก่ประชาชนได้

6.  ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม

2.

วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้รายวิชาสามารถสอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของกฎหมายที่ปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอและสังคมที่มีความพลวัตรอยู่ตลอดเวลา

 

หมวดที่ 3. ลักษณะและการดำเนินการ

 

1.

คำอธิบายรายวิชา

          กฎหมายพระธรรมนูญศาลยุติธรรม อำนาจศาล และอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดี ระบบตุลาการ และกฎหมายการจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงและระบบศาลพิเศษต่าง ๆ โดยการวิเคราะห์ตามหลักกฎหมาย ทฤษฎีและคำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง

          

2.

จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการเรียน

-

บรรยาย

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

สอนเสริม

45 ชั่วโมง 

ไม่มี 

90 ชั่วโมง 

ตามความต้องการของนักศึกษา 

 

3.

จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

 

หมวดที่ 4. การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

1.

คุณธรรม จริยธรรม

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

2.มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม  

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

4.ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ  

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

5.ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง  ขององค์กรและสังคม 

2.

ความรู้

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิต ในเนื้อหาวิชาในหมวดวิชาเฉพาะด้าน 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

2.มีความรอบรู้ กว้างไกลและติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาที่ศึกษา รวมทั้งเข้าใจหลักการและประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง    

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น  ที่เกี่ยวข้อง 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

4.รู้เท่าทันสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่าง  ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ 

 

 

3.

ทักษะทางปัญญา

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

1.คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

2.ตระหนักรู้ศักยภาพของตนเพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถเพิ่มมากขึ้น  

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.สามารถสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

4.กำหนดกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาพอนาคตและแนวทางความเป็นไปได้ที่จะบรรลุเป้าหมายที่กำหนด 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

5.สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา 

 

 

4.

ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.true.png

2.สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง   ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำหรือผู้ร่วมทีมงาน  

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.มีทักษะกระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ  

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

4.วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ                

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

5.มีทักษะในการสร้างเสริมความสามัคคีและจัดการความขัดแย้งในกลุ่มหรือองค์กรอย่างเหมาะสม  

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

6.มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ องค์กรและสังคมอย่างต่อเนื่อง  

 

 

5.

ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

สถานะ

ผลการเรียนรู้

กลยุทธ์/วิธีการสอน

กลยุทธ์/วิธีการประเมินผล

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

1.สามารถประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

2.สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาส และวาระ 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

3.สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ  

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

4.สามารถใช้ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวลผล การแปล ความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล 

 

 

http://reg2.npru.ac.th/wwwtqf/uik/images/sidebar.btn.false.png

5.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลกปัจจุบัน 

 

 

 

หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล

 

1.

แผนการสอน

 

สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน
การสอน

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

ชิ้นงาน/ภาระงาน

การประเมินการเรียนรู้

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

อำนาจตุลาการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
   - ศาลรัฐธรรมนูญ
   - ศาลยุติธรรม
   - ศาลปกครอง
   - ศาลทหาร 
 

 

 

ระบบงานศาลยุติธรรม
   - ประธานศาลฎีกา มาตรา 5
   - เลขาธิการศาลยุติธรรม มาตรา 6
   - ผู้รับผิดชอบราชการศาลและผู้ทำการแทน มาตรา 8
   - ผู้รับผิดชอบราชการในศาลจังหวัด และศาลแขวง มาตรา 9
 

 

 

หน้าที่ของผู้รับผิดชอบราชการศาล มาตรา 11
อธิบดีผู้พิพากษาภาค มาตรา 13, 14
 

 

 

เขตอำนาจศาลชั้นต้นและศาลจังหวัด มาตรา 15, 16, 19/1 

 

 

อำนาจศาลแขวง มาตรา 17
อำนาจศาลจังหวัด มาตรา 18
อำนาจศาลชั้นต้นอื่น มาตรา 19
 

 

 

อำนาจผู้พิพากษาคนเดียว มาตรา 24
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น  มาตรา 25
-       ไต่สวนและวินิจฉัยชี้ขาดคำร้องหรือคำขอที่ยื่นต่อศาลในคดีทั้งปวง
-       ไต่สวนและมีคำสั่งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
-       ไต่สวนมูลฟ้องและมีคำสั่งในคดีอาญา
 

 

 

อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น (ต่อ)
-       พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินที่ฟ้องไม่เกินสามแสนบาท
-       พิจารณาพิพากษาคดีอาญาซึ่งกฎหมายกำหนดอัตราโทษอย่างสูงไว้ให้จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
 

 

 

สอบกลางภาค
สาขาวิชานิติศาสตร์ไม่มีการวัดผลโดยการสอบกลางภาคในวิชากฎหมาย
 

 

 

 

 

อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น (ต่อ)
-       พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินที่ฟ้องไม่เกินสามแสนบาท
-       พิจารณาพิพากษาคดีอาญาซึ่งกฎหมายกำหนดอัตราโทษอย่างสูงไว้ให้จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
 

 

 

10 

ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา มาตรา 21-23
องค์คณะผู้พิพากษาในศาลชั้นต้น มาตรา 26
องค์คณะผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์ มาตรา 27
 

 

 

11 

การนั่งพิจารณาคดีแทน
ระหว่างพิจารณา มาตรา 28
ระหว่างทำคำพิพากษา มาตรา 29
 

 

 

12 

การจ่าย การโอนและการเรียกคืนสำนวนคดี มาตรา 32, 33 

 

 

13 

พรบ.จัดตั้งศาลศาลแขวง
การสอบสวนคดีอาญาที่อยู่ในอำนาจศาลแขวง (มาตรา 7 และ 7 ทวิ)
การผัดฟ้อง (มาตรา 8)
 

 

 

14 

การผัดฟ้อง (มาตรา 8) 

 

 

15 

การฟ้องคดีอาญาในศาลแขวง มาตรา 9, 12, 19, 20 

 

 

16 

คำสั่งหรือคำพิพากษา มาตรา 21
การอุทธรณ์ มาตรา 22, 22 ทวิ
บรรยายสรุป 

 

 

17 

สอบปลายภายภาค 

 

 

 

รวม

45.00

2.

แผนการประเมินผลการเรียนรู้

 

กิจกรรมที่

งานที่ใช้ประเมินผลผู้เรียน

สัปดาห์ที่ประเมิน

คะแนน

สัดส่วนการประเมิน

การประเมินกระบวนการทำงาน/บทบาทในการทำกิจกรรม 

2,5.10 

0.00 

0.00 

การเข้าชั้นเรียน/การเข้าร่วมกิจกรรม 

1-7,8-16 

0.00 

0.00 

การสอบปลายภาค 

17 

100.00 

100.00 

รวม

100.00

100.00

 

หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

 

1.

เอกสารและตำราหลัก

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบตุลาการ

2.

เอกสารและข้อมูลสำคัญ

พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499

 

3.

เอกสารและข้อมูลแนะนำ

ธานิศ เกศวพิทักษ์, หัวใจของพระธรรมนูญศาลยุติธรรมและพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวง

สมชัย ฑีฆาอุตมากร, พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 พระราชบัญญัติให้นำวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใช้ในศาลจังหวัด พ.ศ.2520 ฉบับสมบูรณ์,ศูนย์หนังสือเนติบัณฑิตยสภา: สำนักพิมพ์พลสยาม พริ้นติ้ง, 2553.

 

หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

 

1.

กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

          -  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

          -  การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

          -  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2.

กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

          -  ผลการสอบ

          -  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

 

3.

การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

          -  ประชุมปัญหาและแนวทางการจัดการเรียนการสอน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

 

4.1

การทวนผลสัมฤทธิ์โดยนักศึกษา

ด้านที่ 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม สังเกตพฤติกรรมจากการทำแบบฝึกหัดของนักศึกว่ามีการทุจริตและส่งงานภายในกำหนดเวลาหรือไม่

ด้านที่ 2 ด้านความรู้ สุ่มถามคำถามนักศึกษาที่ได้ผลการเรียนดีมาก พอใช้ และไม่ผ่าน โดยใช้คำถามเดียวกัน หรือสัมภาษณ์นักศึกษาโดยคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์

ด้านที่ 3 ทักษะทางปัญญา ให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาจากการทำแบบฝึกหัด

ด้านที่ 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม

4.2

การทวนผลสัมฤทธิ์โดยอาจารย์ผู้สอน

 

5.

การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4

/

TQF
4103 03 31006800
พิมพ์